การแยกตัวประกอบจำนวนนับ ด้วยวิธีการหารยาว คณิตศาสตร์ ป.6

การแยกตัวประกอบ (Factorization) คือการนำตัวเลขหรือค่าทางคณิตศาสตร์มาทำการเขียนใหม่ในผลคูณของตัวเลขที่มีขนาดเล็กลง ยกตัวอย่างเช่น 3 × 5 นั้นเป็นการแยกตัวประกอบของ 15 ซึ่งเป็นการแยกตัวประกอบของจำนวนนับ ในขณะที่ (x – 2)(x + 2) นั้นเป็นการแยกตัวประกอบของพหุนาม x^2 – 4 ในบทเรียนนี้ คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการแยกตัวประกอบจำนวนนับโดยวิธีการหารยาว ในทฤษฎีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ได้กล่าวไว้ว่า ตัวเลขทุกจำนวนที่มากกว่า 1 นั้นสามารถแยกตัวประกอบออกมาได้เป็นผลคูณของจำนวนเฉพาะ (ซึ่งจะไม่สามารถแยกตัวประกอบไปมากกว่านี้ได้อีกแล้ว) ดังนั้นการแยกตัวประกอบของตัวเลขจำนวนเต็ม n สามารถทำได้โดย …

Read More

10 จังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

ถ้าพูดถึงจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยแล้ว คุณเองอาจจะรู้อยู่แล้วว่ามันคือจังหวัดนครราชสีมา และถ้าถามว่าอันดับที่สอง สาม หรืออันดับสิบละ? จะมีสักกี่คนที่จะรู้และจำได้ ดังนั้นวันนี้ semih จะมาคุณมาดู 10 อันดับที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยของเรา โดยเรียงตามจังหวัดทีมีขนาดพื้นที่มากที่สุดไปยังน้อยที่สุดกัน เนื่องจากประเทศไทยของเราในตอนนี้นั้นมีจังหวัดทั้งหมด 77 จังหวัดด้วยกัน โดยแต่ละจังหวัดก็มีขนาด สภาพภูมิประเทศ สภาพอากาศ ประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ แตกต่างกันออกไป และเพื่อให้คุณได้ทำความรู้จักจังหวัดเหล่านั้นมากขึ้น เราไปดูกันเลยว่ามีจังหวัดอะไรบ้าง โดยเริ่มจากจังหวัดที่ใหญ่ทีสุดในประเทศอย่างจังหวัดนครราชสีมา 1. จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่: 20,493 ตารางกิโลเมตร ที่ตั้ง: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ …

Read More

ปีแสงคืออะไร มาดูกันว่า 1 ปีแสงหมายความว่าอย่างไร

ปีแสงคืออะไร ปีแสง (Light-year) คือหน่วยวัดของความยาวที่ใช้ในการวัดระยะทางทางดาราศาสตร์ซึ่งเป็นระยะทางที่ไกลมาก และมันมีระยะทางเป็น 9.46 ล้านล้านกิโลเมตร (9.46 x 10^12 กิโลเมตร) ปีแสงนั้นกำหนดโดยสหภาพดาราศาสตร์สากล (IAU) โดยให้คำนิยามไว้ว่า ปีแสง คือระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในหนึ่งปีจูเลียน (365.25 วัน) เนื่องจากว่ามันมีคำว่าปี ดังนั้นในบางครั้งมันถูกตีความและเข้าใจผิดว่าเป็นหน่วยของเวลา จากการกำหนดโดยสหภาพดาราศาสตร์สากลนั้นจะเห็นได้ว่า ปีแสงนั้นเป็นผลของการคูณระหว่าง ปีแบบจูเลียน (365.25 วัน ในขณะที่ปีแบบเกรกอเรียนนั้นมี 365.2425 วัน) กับความเร็วของแสง (299,792,458 …

Read More